บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มกราคม, 2018
รูปภาพ
บทที่ 7 การจัดการอุปกรณ์ โดย นาย พัทธนันท์ อุรัตน์  รหัสนักศึกษา 6031280059 การจัดการอุปกรณ์อินพุตเอาต์พุตและสื่อจัดเก็บข้อมูล      การทำงานของคอมพิวเตอร์ไม่ใช่เป็นการทำงานเฉพาะส่วน  แต่จะต้องมีการติดต่อกับโลกภัยนอก   ซึ่งก็คืออุปกรณ์รอบข้าง(peripheral) ต่างๆ เช่น  หน่วยความจำ และอุปกรณ์ที่ต่อพวงกับคอมพิวเตอร์ที่เป็นได้ทั้งอินพุตและเอาต์พุต (Input/Output)เพื่อให้  การติดต่อกับอุปกรณ์เหล่านี้สามารถดำเนินการร่วมกันได้อย่างเหมาะสม      โดยทั่วไปประเภทของอุปกรณ์สามารถแบ่งได้  2 ประเภทด้วยกัน  คือ      1.อุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุต(Input Output Device)      2.สื่อจัดเก็บข้อมูล (Storage Device) อุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุต      ๐ อุปกรณ์อินพุต (Input Device) คืออุปกรณ์ที่ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถรับข้อมูลต่างๆจากภายนอกได้  เช่น  คีย์บอร์ด,เมาส์,สแกนเนอร์,ไมโครโฟน      ๐ อุปกรณ์เอาต์พุต (Output Device)  คืออุปกรณ์ที่คอมพิวเตอร์ส่งผลและแสดงผลข้อมูลเหล่านั้นออกมา  เช่น  จอภาพ,เครื่องพิมพ์,เสียงจากลำโพง   สื่อจัดเก็บข้อมูล      สื่อจัดเก็บข้อมูลเป็นอุปกรณ์ที่คอมพิวเตอร์ใช้ในการเก็บข้
รูปภาพ
บทที่ 6 การจัดการไฟล์ จัดทำโดย นาย พัทธนันท์ อุรัตน์ รหัสนักศึกษา 6031280059 การจัดการไฟล์  (File Management) การทำงานในระบบคอมพิวเตอร์ทั้งหมดจำเป็นต้องมีการเก็บและนำ ข้อมูลไปใช้งาน •ขณะที่โปรเซสกำลังทำงานข้อมูลจะเก็บไว้ในหน่วยความจำ ถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์ดับไม่ว่าด้วยสาเหตุใดก็ตามข้อมูลทั้งหมดจะสูญหายไป •ดังนั้นจึงจำเป็นต้องจัดเก็บข้อมูลเหล่านี้ไว้ในหน่วยจัดเก็บข้อมูลสำรอง ซึ่งอาจจะเป็นแผ่นดิสก์เก็ต ฮาร์ดดิสก์ หรืออุปกรณ์อื่น ๆ •ในการจัดเก็บข้อมูลเหล่านี้มีจุดประสงค์เพื่อนำมาใช้งานต่อไป จึงจำเป็นต้องมีการกำหนดชื่อเพื่อแทนกลุ่มข้อมูล ซึ่งเราเรียกว่าไฟล์ข้อมูล •นอกจากนี้ถ้าเราจัดเก็บข้อมูลไม่เป็นระเบียบจะทำให้การค้นหาไฟล์ข้อมูลที่ต้องการได้ยากหรือช้า ดังนั้นถ้าเราจัดหมวดหมู่ให้กับไฟล์ข้อมูลก็จะทำให้การค้นหาไฟล์ทำได้สะดวกหรือรวดเร็วขึ้น •การจัดให้ไฟล์เป็นหมวดหมู่ก็คือการจัดเก็บในไดเร็กทอรี่ (Directory) หรือโฟลเดอร์ (Folder) แอปพลิเคชันของคอมพิวเตอร์ทั้งหมดจำเป็นต้องมีการเก็บและนำข้อมูลไปใช้งาน ในขณะโปรเซส ข้อมูลจะเก็บอยู่ในพื้นที่จำกั
รูปภาพ
บทที่ 4 การจัดการหน่วยความจำ     จัดทำโดย นาย พัทธนันท์ อุรัตน์ รหัสนักศึกษา 6031280059   หน่วยความจำหลัก      n หน้าที่หน่วยความจำหลัก  q เก็บระบบปฏิบัติการ  q เก็บโปรแกรมของผู้ใช้  q เก็บข้อมูลที่จะใช้ n องค์ประกอบหน่วยความจำ  q แอดเดรส (address)  q ข้อมูล (data) n ความต้องการหน่วยความจำ q ความเร็วสูง q มีความเสถียรสูง q ความจุสูง q ราคาต่ำ ชนิดของหน่วยความจำ q หน่วยความจำหลัก ROM เป็นหน่วยความจำถาวร ไม่สูญเสียข้อมูลแม้ไฟดับ มักใช้เก็บข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็น RAM มักจะใช้เป็นหน่วยความจำหลัก มีอยู่  2 ประเภท คือ static ram และ dynamic ram q หน่วยความจำสำรอง n มีความเร็วช้า เก็บไว้ได้นาน เช่น ดิสก์ ฮาร์ดดิสก์ การจัดการหน่วยความจำ (Memory Management) หน่วยความจำหลักเป็นศูนย์กลางของการทำงานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน หน่วยความจำหลักคือพื้นที่เก็บข้อมูลขนาดใหญ่ ประกอบด้วย พื้นที่เก็บข้อมูลย่อย มีหน่วยเป็น Byte ตำแหน่งหรือที่อยู่ของพื้นที่ย่อย (Address) ส่วนของ OS ที่ทำหน้าที่จัดการกับห